วันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552

Optofluidic Microscope : กล้องจุลทรรศน์ขนาดจิ๋วที่ไม่ต้องใช้เลนส์


ที่มา เวบไซต์ physorg.com
5 ธันวาคม 2552

นักวิจัยจาก California Institute of Technology ได้แปรเปลี่ยนนวนิยายวิทยาศาสตร์ให้เป็นความจริงแล้ว โดยสามารถพัฒนากล้องจุลทรรศน์ขนาดจิ๋วเท่าปลายนิ้ว โดยตั้งชื่อว่า 'microscopic microscope' เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานได้โดยไม่ต้องใช้เลนส์ แต่มีกำลังขยายสูงเทียบเท่ากล้องจุลทรรศน์ชั้นนำ สามารถนำไปใช้ภาคสนามเพื่อตรวจหาเชื้อมาลาเรียในตัวอย่างเลือด หรือ ตรวจหา Giardia ในน้ำ หรือ จุลชีพก่อโรคอื่นๆ และยังสามารถผลิตได้ปริมาณมากๆ ในราคาเพียง 10 $ เท่านั้น

Researchers at the California Institute of Technology have turned science fiction into reality with their development of a super-compact high-resolution microscope, small enough to fit on a finger tip. This "microscopic microscope" operates without lenses but has the magnifying power of a top-quality optical microscope, can be used in the field to analyze blood samples for malaria or check water supplies for giardia and other pathogens, and can be mass-produced for around $10.

"The whole thing is truly compact--it could be put in a cell phone--and it can use just sunlight for illumination, which makes it very appealing for Third-World applications," says Changhuei Yang, assistant professor of electrical engineering and bioengineering at Caltech, who developed the device, dubbed an optofluidic microscope, along with his colleagues at Caltech.

The new instrument combines traditional computer-chip technology with microfluidics--the channeling of fluid flow at incredibly small scales. An entire optofluidic microscope chip is about the size of a quarter, although the part of the device that images objects is only the size of Washington's nose on that quarter.

"Our research is motivated by the fact that microscopes have been around since the 16th century, and yet their basic design has undergone very little change and has proven prohibitively expensive to miniaturize. Our new design operates on a different principle and allows us to do away with lenses and bulky optical elements," says Yang.

The fabrication of the microscopic chip is disarmingly simple. A layer of metal is coated onto a grid of charge-coupled device (CCD) sensor (the same sensors that are used in digital cameras). Then, a line of tiny holes, less than one-millionth of a meter in diameter, is punched into the metal, spaced five micrometers apart. Each hole corresponds to one pixel on the sensor array. A microfluidic channel, through which the liquid containing the sample to be analyzed will flow, is added on top of the metal and sensor array. The entire chip is illuminated from above; sunlight is sufficient.

When the sample is added, it flows--either by the simple force of gravity or drawn by an electric charge--horizontally across the line of holes in the metal. As cells or small organisms cross over the holes, one hole after another, the objects block the passage of light from above onto the sensor below. This produces a series of images, consisting of light and shadow, akin to the output of a pinhole camera.

Yang is now in discussion with biotech companies to mass-produce the chip. The platform into which the chip is integrated can vary depending upon the needs of the user. For example, health workers in rural areas could carry cheap, compact models to test individuals for malaria, and disposable versions could be carried into the battlefield. "We could build hundreds or thousands of optofluidic microscopes onto a single chip, which would allow many organisms to be imaged and analyzed at once," says Xiquan Cui, the lead graduate student on the project.

วันอาทิตย์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

'Dipstick' test สำหรับตรวจหายาฆ่าแมลงที่ปนเปื้อนในอาหาร

ที่มา เวบไซต์ วารสาร Analytical Chemistry และ Labmedica
29 พฤศจิกายน 2552

นักวิจัยจาก McMaster University (Hamilton, ON, USA) ได้พัฒนาวิธีการตรวจหา acetylcholinesterase (AChE) inhibitors, whรวมถึงยาฆ่าแมลงกลุ่ม organophosphate โดยใช้ reagent-less, bioactive paper-based solid-phase biosensor

เขาใช้แผ่นกระดาษ strip ซึ่งมี AChE และ indophenyl acetate (IPA) ซึ่งเป็น chromogenic substrate เกาะติดอยู่กับ biocompatible sol-gel derived silica inks ในสอง zone เรียกว่า sensing และ substate zone ตามลำดับ

วิธีการตรวจเริ่มจากการใส่สารตัวอย่างลงไปที่ sensing zone ก่อน โดยใช้หลักการเคลื่อนของสารละลายตัวอย่างแบบ lateral หลังจากผ่านช่วง incubate แล้ว จึงวางแผ่นกระดาษ stip อีกด้านหนึ่งลงใน deionized distilled water เพื่อให้เกิดการเคลื่อนแบบ lateral ในปลายอีกด้านหนึ่ง เพื่อให้ paper bound-IPA สามารถเคลื่อนไปที่ sensing area ได้ เมื่อพบกับเอนไซม์ก็เกิดปฏิกิริยาเร่งการสลาย substrate ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสีจากเหลือง เป็น น้ำเงิน ดังภาพ



(a) Schematic diagram of the detection principle of the indophenyl acetate (IPA)-based colorimetric assay. Acetylcholinesterase (AChE) hydrolyzes the red-yellow colored substrate IPA under slightly basic conditions (pH 8.0) and forms indophenoxide anion, which is blue-purple in color.


(b) Schematic illustration for the development of the reagentless bioactive paper-based lateral flow sensor in which AChE and IPA were entrapped in the two dashed box regions on a Whatman #1 paper strip (1 × 10 cm) following the sequences of PVAm/silica/AChE/silica and silica/IPA/silica, respectively, by the use of either inkjet printing or over spotting. The sensor can be used two different ways: (1) directly (normal lateral flow-based assay) without incubating the contaminated sample and (2) inverted lateral flow-based assay with incubation of the sample.


วิธีการนี้ สามารถตรวจพบยาฆ่าแมลงในปริมาณน้อยมาก เช่น bendiocarb 1 nM; carbaryl 10 nM; paraoxon 1 nM; malathion 10 nM เป็นต้น ภายในเวลาเพียง 5 นาที ผลที่ได้มีความสัมพันธ์อย่างดีกับการตรวจหาสารนี้ โดยวิธีที่ใช้ด้วยหลักการ Mass spectrophotometric ดังนั้น การตรวจโดยใช้วิธี Bioactive paper นี้ จึงน่าจะเหมาะสมสำหรับใช้คัดกรองสารพิษเหล่านี้ สำหรับงานภาคสนามในอนาคตได้




(a) Effects of cationic PVAm on entrapment of indophenoxide anion in a lateral flow-based paper sensor system. Color intensity (CI) due to elution of IPA (3 mM, final concentration) in the lateral flow-based platform. The areas within the dashed boxes were printed/over spotted without (control) and with PVAm (0.5 wt. %) followed by printing/overspotting of AChE (500 U/mL). PVAm concentrates the reaction product, the blue indophenoxide anion, while in the control experiment; the blue indophenoxide anion is dispersed over a large area.

(b) Proof of concept for the development of the reagentless bioactive paper-based lateral flow platform, in which the sensor was dipped into ddH2O to move the IPA reagent into the sensing region for the generation of the blue color.

เอกสารอ้างอิง

S. M. Zakir Hossain, Roger E. Luckham, Meghan J. McFadden and John D. Brennan. Reagentless Bidirectional Lateral Flow Bioactive Paper Sensors for Detection of Pesticides in Beverage and Food Samples. Anal. Chem., 2009, 81 (21), pp 9055–9064

วันอาทิตย์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

PSA test ไม่ใช่ตัวชี้บ่งมะเร็งต่อมลูกหมากเสมอไป

ภาพแสดงกลุ่ม prostate cancer cells
สีน้ำเงินแกมเขียวเป็นเซลล์ที่ยัง active อยู่
ส่วนสีชมพูเป็นเซลล์ที่เริ่มตายโดยกระบวนการ apoptosis

เนื้อข่าวจาก เวบไซต์ esciencenews
ภาพจาก เวบไซต์ wellcome.ac.uk
8 พฤศจิกายน 2552

นักวิจัยจาก Wake Forest University, School of Medicine และ University of Wisconsin-Madison ได้ค้นพบว่า การเพิ่มขึ้นของระดับ prostate-specific antigen (PSA) ในผู้ชาย บางครั้งอาจเกิดขึ้นได้จากฮอร์โมนในร่างกายเอง โดยไม่เกี่ยวพันกับการบ่งชี้ว่า บุคคลนั้นน่าจะต้องมีการทำ prostate biopsy

เป็นธรรมเนียมปฎิบัติกันมายาวนาน ที่เชื่อว่าการเพิ่มขึ้นของระดับ PSA เป็นสัญญานบ่งชี้แนวโน้มการเกิดมะเร็งต่อมลูกหมาก และมีผลทำให้การตรวจหาระดับ PSA ถูกใช้กันอย่างกว้างขวางในวงการแพทย์ อย่างไรก็ดี นักวิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่า Parathyroid hormone ซึ่งเป็นสารที่ร่างกายสร้างขึ้นเพื่อควบคุมระดับแคลเซียมในกระแสเลือด ก็สามารถเพิ่มปริมาณ PSA ในผู้ชายปกติได้ แม้ไม่ได้เป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก การเพิ่มขึ้นของระดับ 'non-cancer' PSA นี้ อาจมีผลให้ชายหนุ่มจำนวนมาก ถูกทำ biopsy โดยไม่จำเป็น และนำไปสู่การให้การรักษาที่ไม่จำเป็นด้วย

Dr.Gary G. Schwartz จาก Cancer biology and epidemiology and prevention, School of Medicine กล่าว่า 'PSA เกี่ยวข้องกับ prostate ในทุกเรื่อง ไม่เฉพาะการก่อมะเร็ง การอักเสบหรือปัจจัยอื่นๆ ก็ทำให้ระดับ PSA สูงขึ้นได้ ปัญหาคือ เมื่อผู้ชายอายุมากขึ้น จะมีการพัฒนามะเร็งของต่อมลูกหมากในระดับ microscopic อยู่แล้ว ซึ่งไม่มีนัยสำคัญในทางคลินิก และถ้าไม่ได้มีการทำ biopsy จะไม่เคยตรวจพบเลยว่า คนเหล่านี้มี insignificant cancers นี้อยู่ และเซลล์เหล่านี้จะไม่พัฒนาต่อไปจนทำให้เกิดการเสียชีวิตจากมะเร็งต่อมลูกหมากได้เลย'

อย่างไรก็ดี เนื่องจากการตรวจคัดกรองโดยใช้ PSA ได้กลายมาเป็นเรื่องที่ทำกันทั่วไป ผู้ชายจำนวนมากจึงต้องถูกส่งไปทำ biopsy และคนส่วนใหญ่ เมื่อทราบว่า ตนเองมีแนวโน้มจะเป็นมะเร็งชนิดนี้ ก็เลือกที่จะให้รีบทำการรักษาไม่ว่าจะเป็นสิ่งจำเป็นหรือไม่ก็ตาม Schwartz กล่าวว่า เพียงหนึ่งในหกรายเท่านั้นที่เสียชีวิต เมื่อผลวินิจฉัยจาก biopsy ว่าเป็น prostate cancer แล้วไม่ทำการรักษา

อัตราการทำ prostate biopsy ที่สูงมาก นำมาซึ่งการเกิดผลข้างเคียงของยาจากการรักษาเพิ่มสูงขึ้น รวมไปถึงการเกิดสภาวะกามตายด้าน (impotence) และ การไหลซึมของปัสสาวะ (urinary incontinence) ที่มากขึ้นด้วย

The study, coauthored by Halcyon G. Skinner, Ph.D., M.P.H., of the University of Wisconsin-Madison, appears in the current issue of Cancer Epidemiology, Biomarkers & Prevention.

For the study, the researchers analyzed data from 1,273 men who participated in the National Health and Nutrition Examination Survey 2005-2006, and who did not report any current infection or inflammation of the prostate gland, prostate biopsy in the past month, or history of prostate cancer at the time of the survey.

After adjusting for age, race and obesity – because PSA levels increase with age, are higher in black men, and are lower in overweight men – the researchers found that the higher the level of parathyroid hormone in the blood, the higher the PSA level. In men whose parathyroid level was at the high end of normal, the PSA level was increased by 43 percent – putting many in the range for the urologist to recommend a biopsy.

The finding is especially significant for black men, added Skinner. About 20 percent of black men have elevated parathyroid hormone levels, compared with about 10 percent of white men – which means blacks have a greater chance of being recommended for biopsy and over treated, he said.

This finding "could help scientists refine the prostate cancer screening test to better differentiate between those men who need to be biopsied and those who might be spared the procedure," Schwartz said. "It's likely that there are a lot of men out there with elevated PSAs that may be due to elevated parathyroid hormone rather than prostate cancer."

Parathyroid hormone is made by cells of the parathyroid glands, four small glands embedded in the thyroid. Although parathyroid hormone primarily controls calcium levels in the blood, recent research has shown that parathyroid hormone can promote prostate cancer cell growth. The research by Schwartz and Skinner is the first to suggest that parathyroid hormone also promotes prostate cell growth in men without prostate cancerใ

วันพุธที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

10 อันดับแรก ของการประยุกต์ nanotech เพื่อช่วยเหลือคนยากจน

จาก เวบไซต์ science daily
4 พฤศจิกายน 2552

วันใดวันหนึ่งในอนาคต ณ หมู่บ้านชนบทห่างไกลในประเทศกำลังพัฒนา อาจได้เห็นภาพเจ้าหน้าที่สาธารณสุข หยดเลือดคนไข้ลงบนแผนพลาสติกขนาดเท่าเหรียญเงิน แล้วสามารถตรวจวินิจฉัยค่าต่างๆ ที่ทำกันโดยทั่วไปในห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ภายในเวลาไม่กี่นาที ซึ่งรวมถึงการวิเคราะห์หาโรคติดเชื้อ อาทิเช่น มาเลเรีย, โรคเอดส์, โรคฮอร์โมนผิดปกติ หรือ แม้แต่โรคมะเร็ง ก็ได้

แผ่นพลาสติกน่าอัศจรรย์ที่ว่านี้ เรียกกันว่า 'lab-on-a-chip' ซึ่งเป็นผลิตผลใหม่ที่กำลังพัฒนา จากการวิจัยด้าน nanotechnology ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงชีวิตหลายล้านชีวิตในโลกใบนี้ ให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

ผลการจัดลำดับ 10 สุดยอดการประยุกต์ใช้ nanotechnolgoy เพื่อประโยชน์สุขของประเทศกำลังพัฒนาในด้านน้ำ การเกษตร อาหาร สุขภาพ พลังงานและสิ่งแวดล้อม ในสิบปีข้างหน้า เป็นตังนี้

1. Energy storage, production, and conversion
2. Agricultural productivity enhancement
3. Water treatment and remediation
4. Disease diagnosis and screening
5. Drug delivery systems
6. Food processing and storage
7. Air pollution and remediation
8. Construction
9. Health monitoring
10. Vector and pest detection and control

Pseudomonas aeruginosa สร้างสารปกป้องตนเอง จากการถูกทำลายโดยเม็ดเลือดขาว

จาก เวบไซต์ Science daily
4 พ.ย.52

นักวิจัยจากมหาวิทยาลัย Copenhagen และ Technical University of Denmark รวมถึงผู้ร่วมงานจากเดนมาร์ก และ อเมริกา ได้ค้นพบว่า จุลินทรีย์ Pseudomonas aeruginsosa สามารถ 'switch on' การสร้างโมเลกุลที่ทำลายเม็ดเลือดขาวได้ ซึ่งมีผลให้แบคทีเรียนี้ไม่ถูกกำจัดโดยระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย

P. aeruginosa is responsible for many hospital-acquired infections and also causes chronic infections in those with pre-existing medical conditions such as cystic fibrosis (CF). The bacteria cause persistent lung infections by clumping together to form a biofilm, which spreads over the lungs like a slime. Such biofilms are generally resistant to antibiotics as well as the host immune response.

The study showed that P. aeruginosa uses a well-studied communication system called quorum sensing (QS) to detect approaching white blood cells and warn other bacteria in the biofilm. In response to this signal, the bacteria increase their production of molecules called rhamnolipids. These molecules sit on the biofilm surface to form a shield that destroys any white blood cells that encounter it. Interrupting quorum sensing to halt the "launch a shield" response could be a way of treating these bacteria that can resist antibiotics as well as the host immune system.

Professor Michael Givskov from the University of Copenhagen who led the study believes there are significant clinical benefits to this research.

"The ultimate goal [of this research] is to eradicate the present day's antibiotic-resistant bacteria that are involved in the bulk of chronic infections," he says. "Antibiotic resistance is one of the most serious emerging health problems in the world today. More than 70% of the disease-causing bacteria are resistant to at least one of the currently available antibiotics. Studying interactions between P. aeruginosa and the innate and adaptive immune response will provide valuable information for the design of novel antimicrobials."

วันอาทิตย์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2552

How Bacteria Get Past Our Defenses

โดย Josh Chamot, National Science Foundation
จาก เวบไซต์ livescience
25 ตุลาคม 2552

Mucus is more than gross — it's a critical barrier against disease, trapping many of the germs that want to invade your body. A wet mesh of proteins, antiseptic enzymes and salts, mucus is what keeps all but a few microbes from wreaking havoc on many of our most exposed tissues.


Diagram showing how the bacteria Heliobacter pylori can penetrate the stomach lining. Contact with stomach acid keeps the mucin lining the epithelial cell layer in a spongy gel-like state. This consistency is impermeable to H.pylori. However, the bacterium releases urease which neutralizes the stomach acid. This causes the mucin to liquefy, and the bacterium can swim right through it.


Helicobacter pylori is one of the few. The tiny, corkscrew-shaped microbe bores through the mucus that lines the acidic cauldron of the human stomach, establishing colonies on the cells below.

After invading the stomach lining, H. pylori causes persistent, low-grade irritation that over time can lead to ulcers, and if untreated, to cancer.

Boston University (BU) physicist Rama Bansil — along with students and colleagues from BU, Harvard Medical School and MIT — recently helped discover how H. pylori gets through our defenses. The findings could help us protect against this germ, as well as many others.

For decades, Bansil has been studying the physics of gels, and since 1990, a gel composed primarily of mucin, the glyco-protein (protein and sugar complex) found in mucus.

"The mucins of different organs are similar overall, but they have slightly different structures and properties depending on where they are found in the body," Bansil said. "Some become gel, others don’t. They’re tuned to their function. It’s in fish, it’s in slugs — slugs use it to move.” In fact, all vertebrates produce mucin, and many human diseases involve the material.

Bansil’s studies have become so associated with mucin — particularly of the stomach —some of her colleagues refer to her laboratory as the Snot Research Lab.

"In some ways, I think my getting into stomach research was serendipity," Bansil said. Nearly twenty years ago, colleagues approached her looking for a gel expert, an addition to an interdisciplinary team for studying the mucus in our digestive system.

As the researchers started delving deeper into the research problems, they realized that they needed more collaborators and techniques to help find answers.

"You can’t just work with crude mucus," Bansil said. "For stomach mucus, purifying it to obtain the active ingredient, the mucin, is a laborious task. That may be why there are very few groups studying the biophysics of mucin. Protein chemistry is a huge field, but the study of mucin itself is not as advanced — it’s a very complicated protein." In fact, many of the leading studies on mucin were conducted abroad in Europe.

"Originally, our team was just a few collaborators at the BU school of medicine," said Bansil. The medical part of the group later moved to Harvard Medical School, and now the team also includes researchers at MIT. (The full team is listed in a recent press release).

"I would tell colleagues that we were looking at this interesting problem and I was giving a lot of talks about why the stomach doesn’t digest itself, and this helped recruit colleagues. The first person I cornered was the person in the lab next to me; we collaborated on atomic force microscopy."

The microscopy allowed the research team to see mucus up close, and revealed the structure of single mucin molecules.

After several years of working out the basic physical properties of mucin and how those proteins protect against acid in the stomach, the research team wanted to pursue mucin’s relationships to disease.

It was in 1993 — when Bansil came across an article in the New Yorker on the link between H. pylori and ulcers — that she decided to tackle the mystery of how H. pylori travels through stomach mucus. However, it took more than ten years before the researchers actually started working with bacteria.

H. pylori has been a popular subject for study in recent years, particularly following the research of pathologist Robin Warren and clinical researcher Barry Marshall, both of Perth, Western Australia, in the early 1980s. Warren and Marshall definitively linked the bacteria to the stomach, and to ulcers, overturning the persistent belief that bacteria could not thrive in such an acidic environment. Ultimately, the two researchers won the 2005 Nobel Prize in Medicine for their efforts.

Many researchers have further studied H. pylori, learning more about its structure, how it thrives, and even how it fends off stomach acid. Yet, until now no one had explored how it traveled through the sticky gels of stomach mucus.

Conventional wisdom held that corkscrew-shaped H. pylori relies on its shape to twist and bore its way through mucus.

Instead, as part of the thesis of BU doctoral student Jonathan Celli, the researchers found that the bacteria swim in a manner more like other bacteria with whip-like tails, H. pylori just changes its environment to make movement possible.

"We figured out that that it doesn’t move like a corkscrew — everyone thought it did...and the same biochemistry that it uses for survival makes it possible for it to move," explained Bansil. "These two functions are inextricably coupled. It’s chemically affecting its environment, and then it basically acts like a snowplow, moving by altering its surroundings."

H. pylori secretes the enzyme urease, which interacts with urea in the stomach to produce ammonia — the ammonia is what neutralizes the acids in the immediate environment. The less-acidic environment de-gels the mucin, allowing the microbe to travel through it using standard, flagella-based locomotion, much like other swimming bacteria.

To confirm their findings, the researchers placed H. pylori into an acidic mucin gel in a laboratory setting. While its flagella moved, the organism could not. After the microbes secreted urease and acidity diminished, the microbes were able to forge through the gel.

Bansil and her colleagues next want to understand the progress of H. pylori-related diseases, particularly in the context of living hosts. The team is planning to work on new imaging techniques that may reveal even greater detail about the organisms and how they inflict damage on the human body.

Jonathan Celli, supported by an NSF GK-12 fellowship, was lead author on the H. pylori findings published in the Proceedings of the National Academy of Sciences on Aug. 11, 2009.

Bigger Creatures Have Bigger Blood Cells

จาก เวบไซต์ livescience
โดย Lindsey Konkel, Natural History Magazine
25 ตุลาคม 2552

When it comes to metabolism, size matters—cell size, that is, according to a recent study.

Small animals have faster metabolisms relative to their body size than do large animals. According to the so-called metabolic theory of ecology, that scaling is responsible for many patterns in nature—from the average lifespan of a single species to the population dynamics of an entire ecosystem. Although scientists generally agree on the theory's fundamentals, they disagree on the reasons for the scaling. One camp thinks metabolic rate is driven by cell size; another thinks it corresponds to the size and geometry of physiological supply networks, such as the circulatory system.

The "cell-size" camp points out that small cells are more energetically demanding because they have a larger ratio of surface area to volume than big cells do, enabling them to exchange disproportionately more gas and nutrients. But, with the exception of one study on ants, evidence for small animals actually possessing small cells and correspondingly high metabolisms has been surprisingly lacking—until now.

With four colleagues, Zuzana Starostová, at the time a graduate student at Charles University in Prague, measured the size of red blood cells (a proxy for average cell size) and resting metabolic rate in fourteen species of eyelid geckos. The lizards are morphologically similar, but vary greatly in size: the largest, at a quarter pound, weighs thirty-three times as much as the smallest.

Sure enough, the team found that the larger geckos had bigger red blood cells and a lower metabolic rate relative to body size than small geckos did. Their work supports the idea that cell size helps determine metabolic rate—which, in turn, underlies much of life’s patterning.

The findings were detailed in the American Naturalist.

(ภาพข้างบนแสดง eyelid geckos ขนาดใหญ่สุดและเล็กสุด
creditภาพ : Zuzana Starostová & Lukáš Kratochvíl)

วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2552

สารต้านมะเร็งจากเชื้อรา

เรียบเรียงจากเวบ MIT และ medlabnews
10 ตุลาคม 2552

เป็นครั้งแรกที่นักเคมีสามารถสังเคราะห์สารประกอบเชิงซ้อนที่ได้จากเชื้อราที่อาศัยในทะเล และมีความสามารถทำลายเซลล์มะเร็งได้

สารประกอบชนิดนี้ถูกค้นพบเมื่อสิบปีที่ผ่านมา โดย William Fenical จาก Scripps Institution of Oceanography (โครงสร้างดังรูปด้านซ้าย) มีชื่อว่า (+)-11,11'-Dideoxyverticillin A ซึ่งเป็นสารกลุ่ม alkaloids ที่มีโครงสร้างซับซ้อนมาก และจากการทดสอบในห้องทดลอง พบว่ามีความสามารถทำลายเซลล์มะเร็งได้

Mohammad Movassaghi นักวิจัยจาก MIT กล่าวว่า การสังเคราะห์สารเคมีชนิดนี้ขึ้นมาได้ จะทำให้การนำมาใช้ทางการค้ามีจุดเริ่มที่จะวิจัยพัฒนาต่อ เป็นตัวยาที่เหมาะสมได้ในอนาคต

จากการค้นพบนี้ ช่วยให้นักวิทยาศาสตร์สามารถนำมาพัฒนา ดัดแปลงโครงสร้าง ให้เป็นสารที่อาจนำมาใช้เป็นยาสำหรับรักษาโรคมะเร็งในอนาคตได้ กลไกการทำลายมะเร็งของสารประกอบชนิดนี้ ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่อาจเป็นได้ว่า มีความเกี่ยวพันกับกระบวนการต่อต้านสิ่งแปลกปลอมตามธรรมชาติของร่างกาย หรือ เกี่ยวข้องกับกลไกการส่งสัญญานต่างๆ ของเซลล์

Movassaghi กล่าวต่อว่า มันอาจเป็นกลไกป้องกันตัวเองของเชื้อรา ที่ทำโดยการหลั่งสารพิษ เพื่อแข่งขัน ปกป้องตัวเองจากการรุกรานของสิ่งมีชีวิตอื่น หรือ ปกป้องการเข้ามาแย่งแหล่งอาหารของตนก็ได้ แต่ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ก็เชือว่า สารนี้เป็นความหวังในการผลิตยารักษาโรคมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งเต้านม เนื่องจากสารนี้มีฤทธิ์ทำลายเซลล์มะเร็งเต้านมที่เพาะเลี้ยงในห้องทดลองได้

วันเสาร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2552

microRNAs : ความหวังในการค้นหา marker สำหรับวินิจฉัยโรคมะเร็งตับอ่อน

เรียบเรียงจาก scientific american Spt 18, 2009 โดย Carina Storrs
3 ตุลาคม 2552

Scientists are looking at microRNAs for early detection of the notoriously silent cancer that usually becomes symptomatic after it is too late for treatment.

ความล้มเหลวในการตรวจพบมะเร็งตับอ่อนตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของโรค เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้อัตราการตายของผู้ป่วยโรคนี้สูงมาก ประมาณการว่า ปีนี้ชาวอเมริกัน 42,000 คน ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคนี้ และเกือบทั้งหมดต้องเสียชีวิต โดย 76% เสียชีวิตภายในปีแรกที่ตรวจพบ

ผู้ป่วยที่มาพบแพทย์ มักมาด้วยอาการปวดท้อง น้ำหนักลด และดีซ่าน ซึ่งกว่าจะถึงอาการเหล่านี้ มะเร็งก็เข้าระยะ metastasis แล้ว ทำให้การรักษาโดยผ่าตัดไม่ได้ผลอีกต่อไป การทำ MRI หรือ CT scan ก็ไม่สามารถตรวจพบเนื้อร้ายนี้ และจนถึงปัจจุบัน ก็ยังไม่มี markers ในเลือดใดๆ ที่น่าเชื่อถือพอที่ทางห้องปฏิบัติการ จะนำมาใช้เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคนี้ได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก

ความหวังใหม่ในการหา marker สำหรับโรคนี้ ได้มุ่งไปที่โมเลกุล RNA ขนาดเล็กที่เรียกชื่อว่า microRNAs ซึ่งเป็น RNA ที่ประกอบด้วย 19-25 nucleotides และไม่ถูกใช้ในการ translate เป็นโปรตีน แต่สามารถเข้าจับกับ target RNA ที่มี sequence ที่เข้ากันได้ ทำให้ RNA นั้นใช้สังเคราะห์โปรตีนไม่ได้ และถ้า target RNA ที่ถูกบล๊อคนี้ สามารถุถอดรหัสเป็น tumor suppressor protein ได้ ผลที่ได้สุดท้ายคือ ไม่มีการสร้าง tumor suppressor protein นั่นเท่ากับว่า microRNA นี้ ทำหน้าที่ส่งเสริมให้เซลล์มะเร็งเจริญได้ดี

จากการศึกษาเมื่อไม่นานมานี้ มีรายงานว่า microRNA 'signature' มีความเกี่ยวพันกับโรคมะเร็ง โดยสามารถตรวจพบระดับ microRNAs ในเนื้อเยื่อมะเร็งชนิดต่างๆ สูงผิดปกติเมื่อเทียบกับคนที่ไม่เป็นมะเร็ง และในคนไข้มะเร็งตับอ่อน ก็สามารถตรวจพบระดับ microRNAs หลายสิบชนิดที่มีปริมาณแตกต่างจากคนไม่เป็นโรคนี้

คณะผู้วิจัยจาก University of Texas M.D.Anderson Cancer Center ใน Houston ได้ทดลองตรวจหาระดับ microRNA จากตัวอย่างเลือด โดยเลือก microRNA 4 ชนิด มาใช้ในการทดลอง ผลปรากฎว่า สามารถตรวจพบ microRNAs ในกระแสเลือดได้ และในเลือดของคนไข้มะเร็งตับอ่อน จะมีระดับที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับคนปกติ

อย่างไรก็ดี microRNAs 4 ชนิด ที่ใช้ในการทดลองนี้ ก็สามารถพบระดับสูงได้ในมะเร็งชนิดอื่นด้วย เช่น มะเร็งปอด และเต้านม ดังนั้น ผลที่ได้ จึงยังไม่สามารถใช้แยกแยะชนิดของมะเร็งออกจากกันได้ การทดลองขั้นต่อไป คือ ความพยายามค้นหา tissue-specific microRNAs ที่จำเพาะเฉพาะกับมะเร็งตับอ่อน เพื่อความหวังที่จะสามารถนำมาใช้ เพื่อตรวจวินิจฉัยโรคนี้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก

มะเร็งตับอ่อน เป็นมะเร็งชนิดที่สามต่อจากมะเร็งต่อมลูกหมากและมะเร็งรังไข่ ที่สามารถตรวจพบ microRNAs ได้จากเลือด นักวิทยาศาสตร์หวังว่า ในอนาคต ความรู้เกี่ยวกับ tissue-specific microRNAs จะถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจคัดกรองชนิดของมะเร็งได้ และยังมีความหวังที่จะตรวจพบระดับสารตัวนี้ในปัสสาวะ และน้ำลายด้วย ซึ่งหากประสบผลสำเร็จ คนไข้ที่มาตรวจมะเร็ง จะไม่เจ็บตัวจากการถูกเจาะเลือดอีกต่อไปด้วย

วันพฤหัสบดีที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2552

เอนไซม์สมอง CPE ช่วยลดน้ำหนัก

จาก เวบไซต์ โลกวันนี้
1 ตุลาคม 2552

นักวิจัยอิตาลีค้นพบเอนไซม์ในสมอง อาจช่วยรีดน้ำหนักตัวได้ โดยไม่กลับมาอ้วนเหมือนเดิม ผลจากการยับยั้งกลไกการป้องกันโดยธรรมชาติของร่างกาย ที่จะใช้พลังงานลดลงไปเมื่อกินน้อยลง

นิตยสารเนเจอร์ เมดิซีน รายงานผลการศึกษาของโดเมนิโค แอ็คซีลี ผู้เชี่ยวชาญด้านความผิดปรกติของต่อมไร้ท่อชาวอิตาลี ที่ค้นพบว่าเคมีในสมองตัวหนึ่งอาจช่วยรีดน้ำหนักตัวได้ ซึ่งได้แก่เอนไซม์ชื่อว่า CPE ที่อยู่ในสมองส่วนไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับหลายส่วน รวมถึงด้านอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ ความหิวและความอิ่ม

นักวิจัยเชื่อว่าเอนไซม์ CPE จะช่วยลดน้ำหนักตัวได้ด้วยการไปยับยั้งกลไกการป้องกันโดยธรรมชาติของร่างกายอย่างหนึ่งนั่นคือ มีการใช้พลังงานลดลงไปเมื่อคนเราบริโภคอาหารน้อยลง ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้การลดน้ำหนักตัวโดยการรับประทานอาหารน้อยลงไม่ได้ผล หรือกลับมาอ้วนใหม่ได้อีก เพราะการรับประทานอาหารน้อยลงเพื่อลดน้ำหนักไปกระตุ้นให้กลไกดังกล่าวของร่างกายทำงานได้ดีขึ้น โดยใช้พลังงานเพียงเล็กน้อยเท่านั้น

ทั้งนี้ ในการทดลองกับหนูพบว่าเมื่อ CPE อยู่ในระดับต่ำ หนูจะกินอาหารมาก และร่างกายเผาผลาญพลังงานเพียงเล็กน้อย แต่เมื่อ CPE มีระดับสูงขึ้น หนูกินอาหารน้อยลงไป ในขณะที่ร่างกายมีการใช้พลังงานในอัตราปรกติ นักวิจัยจึงคาดหวังว่าจะสามารถพัฒนายาที่ช่วยกระตุ้นหรือเพิ่ม CPE ในร่างกายเพื่อช่วยลดน้ำหนักตัวโดยไม่กลับมาอ้วนใหม่ได้ในอนาคตอันใกล้ หลังจากที่มียาที่คล้ายคลึงกันนี้สำหรับรักษาโรคเบาหวานและยารักษาโรคติดเชื้ออื่นๆเข้าตลาดแล้ว

========================

หมายเหตุเพิ่มเติม
1. CPE = Carboxypeptidase E

2. Reference

Nature Medicine
Published online: 20 September 2009 doi:10.1038/nm.2026

The obesity susceptibility gene Cpe links FoxO1 signaling in hypothalamic pro-opiomelanocortin neurons with regulation of food intake

Leona Plum1,5, Hua V Lin1, Roxanne Dutia1, Jun Tanaka1, Kumiko S Aizawa1, Michihiro Matsumoto1,2, Andrea J Kim1, Niamh X Cawley3, Ji-Hye Paik4, Y Peng Loh3, Ronald A DePinho4, Sharon L Wardlaw1 & Domenico Accili1

---------------------------------------------------------------

Abstract

Reduced food intake brings about an adaptive decrease in energy expenditure that contributes to the recidivism of obesity after weight loss. Insulin and leptin inhibit food intake through actions in the central nervous system that are partly mediated by the transcription factor FoxO1. We show that FoxO1 ablation in pro-opiomelanocortin (Pomc)-expressing neurons in mice (here called Pomc-Foxo1−/− mice) increases Carboxypeptidase E (Cpe) expression, resulting in selective increases of -melanocyte–stimulating hormone (-Msh) and carboxy-cleaved -endorphin, the products of Cpe-dependent processing of Pomc. This neuropeptide profile is associated with decreased food intake and normal energy expenditure in Pomc-Foxo1−/− mice. We show that Cpe expression is downregulated by diet-induced obesity and that FoxO1 deletion offsets the decrease, protecting against weight gain. Moreover, moderate Cpe overexpression in the arcuate nucleus phenocopies features of the FoxO1 mutation. The dissociation of food intake from energy expenditure in Pomc-Foxo1−/− mice represents a model for therapeutic intervention in obesity and raises the possibility of targeting Cpe to develop weight loss medications.

พยาธิลำไส้ ป้องกัน “ภูมิแพ้”

จาก เวบไซต์ โลกวันนี้
1 ตุลาคม 2552

นักวิจัยอังกฤษและเวียดนามศึกษาพบว่า การติดเชื้อปรสิตหรือพยาธิในลำไส้ ช่วยป้องกันการเป็นโรคภูมิแพ้ได้ โดยหลังถ่ายพยาธิให้เด็กในเวียดนามพบมีอัตราป่วยภูมิแพ้ไรฝุ่นเพิ่ม

บีบีซี นิวส์ ออนไลน์ รายงานการศึกษาของนักวิจัยมหาวิทยาลัยนอตติงแฮมในอังกฤษ และนักวิจัยชาวเวียดนามพบว่า เชื้อปรสิตหรือพยาธิที่สิงสถิตในลำไส้ของคน อาจช่วยปูทางสู่วิธีการใหม่ๆ เพื่อรักษาโรคหืดและโรคภูมิแพ้อื่นๆ ได้ โดยพบว่า แม้มีการระบาดของโรคติดเชื้อพยาธิปากขอและพยาธิชนิดอื่นๆใ นเวียดนาม แต่กลับมีการเกิดโรคหืดและโรคภูมิแพ้ชนิดอื่นๆ ในอัตราต่ำ และการถ่ายพยาธิในร่างกาย สามารถทำให้เด็กๆ เกิดโรคภูมิแพ้เนื่องจากไรฝุ่นเพิ่มขึ้น

ที่ผ่านมา การปรับปรุงดีขึ้นในด้านสุขอนามัย สามารถช่วยลดการติดเชื้อพยาธิในกลุ่มประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศกำลังพัฒนาต่างๆ ลงไปได้ แต่บรรดาผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่า พยาธิที่มีวิวัฒนาการร่วมกับมนุษย์มานานหลายล้านปี มีวิธีปรับตัว ที่ช่วยเอื้อให้รอดพ้นจากการทำลายของระบบภูมิคุ้มกัน และทำให้อยู่ในร่างกายของคนได้ อีกทั้งยังกลายเป็นความสัมพันธ์แบบพึ่งพากันได้อย่างลงตัว โดยเมื่อปราศจากเชื้อพยาธิในลำไส้หรือปรสิตชนิดอื่นๆ สามารถส่งผลสมดุลของระบบภูมิคุ้มกัน และทำให้กลายเป็นโรคหืดและภูมิแพ้ชนิดอื่นๆ ตามมาได้

จากการศึกษาล่าสุดที่เกิดขึ้นในเขตชนบททางภาคกลางของเวียดนาม ซึ่งมีอัตราการติดเชื้อพยาธิในลำไส้และอื่นๆ ในเด็ก 2 ในทุกๆ 3 คน แต่แทบไม่พบการเจ็บป่วยด้วยโรคภูมิแพ้ โดยมีเด็กที่เข้าร่วมการศึกษาจำนวนมากกว่า 1,500 คน อายุระหว่าง 6-17 ปี โดยนักวิจัย ได้ให้ยาถ่ายพยาธิแก่เด็กๆ ซึ่งยาจะไม่ส่งผลต่ออัตราป่วยโรคหืดและโรคภูมิแพ้ผิวหนัง ผลที่ได้พบว่า เด็กที่ได้รับยา ป่วยเป็นภูมิแพ้ไรฝุ่นภายในบ้านเพิ่มขึ้น ในขณะที่ 80% ของกลุ่มเด็กที่เป็นโรคหืดอยู่แล้วได้กลายเป็นภูมิแพ้ไรฝุ่นและแพ้สารก่อภูมิแพ้อื่นๆในสิ่งแวดล้อม

นักวิจัยชี้ว่า ผลที่ได้นี้แสดงให้เห็นชัดเจนว่า พยาธิในลำไส้ สามารถช่วยลดปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้ต่างๆ ให้ลดลงได้

วันพุธที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2552

Old Red Blood Cells May Double Mortality In Trauma Patients

จาก เวบไซต์ Science daily
23 กันยายน 2552

ผู้ป่วย severe trauma ที่ต้องมีการให้เลือด มีแนวโน้มตายเพิ่มเป็นสองเท่าถ้าเลือดที่ได้รับเป็นเม็ดเลือดแดงเก่าที่เก็บไว้มากกว่า 1 เดือน

Severe trauma patients requiring a major transfusion are twice as likely to die if they receive red blood cells stored for a month or longer, according to research published in BioMed Central's open access journal Critical Care. The increased rate of death was measured up to six months post transfusion which is consistent with previous reports in cardiac surgery patients.

Philip Spinella and Christopher Carroll, both pediatric intensivists from Connecticut Children's Medical Center, Hartford, Connecticut, USA and their team studied 202 severe trauma patients treated at Hartford Hospital following a critical injury with five or more units of red blood cells.
They found that even one unit of red blood cells stored more than 28 days doubled the incidence of deep vein thrombosis and increased death secondary to multiple organ failure. Though medical experts had long suspected that older red blood cells caused complications, this is one of the first studies to strongly support this dramatic link.

This study differs from previous studies since the amount of RBC units transfused to the fresh and old RBC study groups were equal. As a result, this eliminated the major criticism of previous studies that it is the amount of RBCs transfused not the storage age that was affecting outcomes.

Over 29 million units of blood were transfused in the United States in 2004, and this is a routine and reliable part of trauma care treatment around the world. However, red blood cell transfusion continues to be associated with adverse complications.

This study provides evidence that allows doctors to reduce these risks by giving fresher red blood cells to severe trauma patients who need these major transfusions for life-saving procedures.

According to Spinella, 'The preferential use of younger RBCs to critically ill patients has the potential to increase waste due to outdating. Since blood is often a scarce resource this is important and methods need to be developed to minimize waste while providing the most efficacious and safe blood product for a given patient.

The authors speculate, 'These important findings should encourage research into the effects of old blood and coagulation in critically ill patients. With the widespread of use of red blood cell transfusion for critically injured patients, this study has the potential to cut deaths in hospitals around the world.'

===============================
Journal reference:

Philip C Spinella, Christopher L Carroll, Ilene Staff, Ronald Gross, Jacqueline Mc Quay, Lauren Keibel, Charles E Wade and John B Holcomb. Duration of red blood cell storage is associated with increased incidence of deep vein thrombosis and in-hospital mortality in patients with traumatic injuries.

Critical Care, 2009; (in press)


วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2552

นวัตกรรมใหม่ในการตรวจเบาหวานโดยไม่ต้องเจาะเลือด

จาก เวบไซต์ โลกวันนี้
22 กันยายน 2552

“เครื่องตรวจหาโรคเบาหวานระยะแรก” โดยไม่ต้องเจาะเลือด “EZ SCAN” ของบริษัทฟรังโก-แปซิฟิกในฝรั่งเศส

เครื่องมือชิ้นนี้ใช้เทคโนโลยีไอออนโต หรือทำงานโดยใช้กระบวนการ reverse iontophoresis ซึ่งเป็นการดึง “คลอไรด์” และ “โพแทสเซียม” ออกมาจากต่อมเหงื่อ เพื่อวัดว่าเป็นเบาหวานหรือไม่ จากปรกติที่สามารถตรวจได้จากเลือด โดยทราบผลในเวลาเพียง 3 นาที และมีความแม่นยำสูงถึง 92% ช่วยให้ตรวจพบโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้ตั้งแต่เนิ่นๆ เนื่องจากเบาหวานประเภทนี้พบมากในผู้ใหญ่ แต่ไม่แสดงอาการ จนกว่าจะเกิดโรคแทรกซ้อนขึ้น การตรวจพบเร็ว จะช่วยให้แพทย์สามารถรักษาได้อย่างรวดเร็ว

เครื่องมือชิ้นนี้นอกจากมีข้อดีตรงที่ไม่ต้องเจาะเลือดให้เจ็บตัวแล้ว ยังไม่จำเป็นต้องงดน้ำและอาหารก่อนตรวจ ใช้งานง่าย ผู้ตรวจไม่จำเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญสูง มีขั้นตอนเพียงเสียบปลั๊ก ป้อนข้อมูลอายุ เพศ น้ำหนัก ความดันเลือดของผู้จะตรวจ หลังจากนั้นไปยืนตรงจุดที่กำหนดให้ฝ่าเท้า ฝ่ามือวางลงไป และมีอุปกรณ์สวมศีรษะ ก่อนปล่อยกระแสไฟฟ้ากำลังต่ำเพียง 4 โวลต์ ซึ่งเท่ากับถ่าน 1 ก้อน จากนั้นเครื่องจะทำงานโดยอัตโนมัติ ผู้ตรวจสามารถอ่านผลผ่านหน้าจอว่ามีระดับน้ำตาลในเลือดปรกติหรือเข้าข่ายเป็นเบาหวานหรือไม่

บริษัทฟรังโก-แปซิฟิกเพิ่งเปิดตัว EZ SCAN เมื่อปี 2007 ในโซนยุโรป หลังวิจัยและพัฒนาเป็นเวลา 5 ปี และมีการวิจัยเพื่อยืนยันผลแล้วในฝรั่งเศสและอินเดีย มีจำหน่ายทั้งในยุโรปเอเชีย เช่น อินเดีย จีน และไต้หวัน

สำหรับในไทยยังอยู่ระหว่างการขออนุมัติจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) คาดว่าจะผ่านการอนุมัติในสิ้นปีนี้ ซึ่งเครื่องมือชิ้นนี้เหมาะสำหรับใช้ในโรงพยาบาล เนื่องจากมีราคาสูงราว 2 ล้านบาท และทางฟรังโก-แปซิฟิกยังมีแผนศึกษาการตรวจด้วยเครื่องนี้ร่วมกับโรงพยาบาลรามาธิบดีด้วย

ความหวังใหม่ในการตรวจเลือดเพื่อชี้บ่งมะเร็งในลำไส้ และกระเพาะอาหาร

ที่มา เวบไซต์ abcnews
ภาพจาก oncolink
22 กันยายน 2552


นักวิจัยจากบริษัทในเบลเยี่ยมและเยอรมัน (Ulrike Stein และ Louwagie) ได้เปิดเผยถึงการค้นพบวิธีการทดสอบแบบใหม่ทางห้องปฏิบัติการ ที่จะช่วยแพทย์ตรวจหามะเร็งในลำไส้และกระเพาะอาหารได้อย่างง่ายๆ ราคาไม่แพง และพบได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของโรค โดยการเจาะเลือด แล้วตรวจหายีนที่จำเพาะ (specific genetic signals) ที่เรียกว่า S100A4

Ulrike stein กล่าวว่า 'ผู้ป่วยมะเร็งจะมีระดับยีน S100A4 สูงอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับคนที่ไม่เป็นมะเร็ง การตรวจพบยีนนี้ในกระแสเลือด จะช่วยให้เราสามารถติดตามการดำเนินของโรคได้ตลอดระยะเวลาที่ให้การรักษา'

มะเร็งลำไส้มีอุบัติการณ์สูง และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งเป็นลำดับที่สองของสหรัฐและยุโรป ประมาณการว่า มีคนเป็นโรคนี้ 560,000 คนต่อปี และในจำนวนนี้ เสียชีวิตถึง 250,000 คน การตรวจพบและวินิจฉัยโรคได้ในระยะเริ่มแรก จะช่วยให้อัตราการตายลดลง

วันศุกร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2552

ยาต้านมะเร็งกลุ่ม PARP inhibitors : ความหวังของการรักษามะเร็ง

จาก เวบไซต์ โลกวันนี้
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2632 ประจำวัน ศุกร์ ที่ 18 กันยายน 2009

ลอนดอน : นักวิจัยสถาบันวิจัยโรคมะเร็งเต้านมอังกฤษ ค้นพบคุณสมบัติใหม่ของยารักษาโรคมะเร็งกลุ่มที่เรียกว่า PARP inhibitors อาจใช้รักษามะเร็งได้มากกว่าที่คิด ทั้งมะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งผิวหนังชนิดร้ายแรงเมลาโนมา มะเร็งมดลูก มะเร็งรังไข่ และมะเร็งลำไส้

นักวิจัยสถาบันวิจัยโรคมะเร็งเต้านมของอังกฤษ นำทีมโดย ดร.คริส ลอร์ด เปิดเผยผลการค้นพบที่มีความสำคัญอย่างมากต่อการรักษาโรคมะเร็งในอนาคต โดยพวกเขาค้นพบคุณสมบัติใหม่ของยารักษาโรคมะเร็งกลุ่มที่เรียกว่า PARP inhibitors ว่า อาจใช้รักษามะเร็งได้หลากหลายชนิด ซึ่งหลังจากพบว่าสามารถใช้รักษามะเร็งที่เกี่ยวข้องกับการกลายพันธุ์ของยีน BRCA1 และ BRCA2 ที่เป็นสาเหตุของมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ได้แล้ว ล่าสุดยังพบอีกว่า ยาดังกล่าวอาจใช้รักษามะเร็งที่เกี่ยวพันกับการมียีน PTEN บกพร่องได้ด้วย ซึ่งยีนดังกล่าวนี้พบในเซลล์มะเร็งหลายชนิดเช่นกัน

ทั้งนี้ นักวิจัยพบว่า เซลล์ที่มียีน PTEN บกพร่อง สามารถสนองตอบต่อยากลุ่มดังกล่าวได้มากกว่าเซลล์ปรกติถึง 25 เท่าตัว ซึ่งยีนดังกล่าว เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งผิวหนังชนิดร้ายแรงเมลาโนมา มะเร็งมดลูก และมะเร็งลำไส้ระหว่าง 30-80%

สำหรับยารักษามะเร็งกลุ่ม PARP inhibitors เป็นยารักษามะเร็งวิธีใหม่เพื่อทำให้เซลล์ตาย หรือที่เรียกว่า synthetic lethality โดยยามุ่งทำลายเซลล์มะเร็ง แต่ไม่ส่งผลกระทบต่อเซลล์ดี ด้วยการไปสกัดกั้นการซ่อมแซม DNA ของเซลล์มะเร็ง และสุดท้ายทำให้เซลล์ตาย ทำให้การรักษาส่งผลข้างเคียงกับผู้ป่วยเพียงเล็กน้อย ดังในกรณีเซลล์มะเร็งที่มียีน PTEN บกพร่อง มันจะอาศัยโปรตีนชื่อว่า PARP เพื่อป้องกัน DNA ไม่ให้ถูกทำลาย แต่ยา PARP inhibitors จะไปยับยั้งการทำงานของโปรตีนดังกล่าว และทำให้เซลล์มะเร็งตาย

อย่างไรก็ตาม นักวิจัยเปิดเผยว่า ยังจำเป็นต้องทดสอบต่อไปเพื่อดูว่า ยาดังกล่าวจะสามารถใช้กับผู้ป่วยโรคมะเร็งที่เกิดจากยีน PTEN ได้เป็นจำนวนมาก หรือใช้ได้เพียงเฉพาะราย

การแพร่ระบาดของมาเลเรียสายพันธ์ใหม่ Plasmodium knowlesi ในคน

18 กันยายน 2552
Janet Cox-Singh et al , CID 2008:46 (15 January) • 165-171

Background. Until recently, Plasmodium knowlesi malaria in humans was misdiagnosed as Plasmodium malariae malaria. The objectives of the present study were to determine the geographic distribution of P. knowlesi malaria in the human population in Malaysia and to investigate 4 suspected fatal cases.

Methods. Sensitive and specific nested polymerase chain reaction was used to identify all Plasmodium species present in

(1) blood samples obtained from 960 patients with malaria who were hospitalized in Sarawak, Malaysian Borneo, during 2001–2006;

(2) 54 P. malariae archival blood films from 15 districts in Sabah, Malaysian Borneo (during 2003–2005), and 4 districts in Pahang, Peninsular Malaysia (during 2004–2005); and

(3) 4 patients whose suspected cause of death was P. knowlesi malaria. For the 4 latter cases, available clinical and laboratory data were
reviewed.

Results. P. knowlesi DNA was detected in 266 (27.7%) of 960 of the samples from Sarawak hospitals, 41(83.7%) of 49 from Sabah, and all 5 from Pahang. Only P. knowlesi DNA was detected in archival blood films from the 4 patients who died. All were hyperparasitemic and developed marked hepatorenal dysfunction.

Conclusions. Human infection with P. knowlesi, commonly misidentified as the more benign P. malariae, are widely distributed across Malaysian Borneo and extend to Peninsular Malaysia. Because P. knowlesi replicates every 24 h, rapid diagnosis and prompt effective treatment are essential. In the absence of a specific routine diagnostic test for P. knowlesi malaria, we recommend that patients who reside in or have traveled to Southeast Asia and who have received a “P. malariae” hyperparasitemia diagnosis by microscopy receive intensive management as appropriate for severe falciparum malaria.

มาเลเรียพันธุ์ใหม่ (Plasmodium knowlesi) ระบาด นราธิวาสติดเชื้อแล้ว 1 ราย

18 กันยายน 2552
จาก เวบไซต์ ไทยรัฐ

เชื้อไข้มาเลเรียพันธุ์ใหม่ระบาดหนัก! ที่นราธิวาส พบติดเชื้อแล้ว 1 ราย รวมยอดผู้ป่วย 9 เดือนที่ผ่านมา มีจำนวนทั้งสิ้น 26,139 ราย ตาก,ยะลา และกาญจนบุรี พบมากที่สุดตามลำดับ …


วันนี้ (17 ก.ย.) นายศิริชัย ลีวรรณนภาใส นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส กล่าวถึง สถานการณ์โรคมาลาเรียของประเทศไทย

ตั้งแต่วันที่ 4 ม.ค.-29 ส.ค. 2552
พบผู้ป่วยมาลาเรียทั้งหมด 26,139 ราย
เป็นคนไทย 11,383 ราย ต่างชาติ 14,756 ราย

โดยผู้ป่วยไทย พบติดเชื้อลดลงกว่าปีที่ผ่านมาประมาณร้อยละ 30
ส่วนผู้ป่วยต่างชาติ พบติดเชื้อเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 5

จังหวัดที่พบมาก 10 ลำดับ ได้แก่
ตาก เป็นคนไทย 2,965 ราย ต่างชาติ 10,996 ราย
รองลงมา ยะลา, กาญจนบุรี, แม่ฮ่องสอน, ชุมพร, นราธิวาส, ศรีสะเกษ, จันทบุรี, สุรินทร์, และประจวบคีรีขันธ์

สำหรับจังหวัดนราธิวาสได้พบผู้ป่วยติด เชื้อโรคมาลาเรีย สายพันธุ์พลาสโมเดี่ยมโนเลไชน์ จำนวน 1 คน ที่โรงพยาบาลรือเสาะ อ.รือเสาะ ซึ่งได้รักษาอาการจนหายป่วย และได้ออกจากโรงพยาบาลแล้ว

นายแพทย์ศิริชัย กล่าวด้วยว่า เชื้อไข้มาลาเรียพลาสโมเดี่ยมโนเลไชน์ (Plasmodium Knowlesi) เป็นเชื้อมาลาเรียชนิดที่ 5 ที่พบในคนไทย มียุงก้นปล่องเป็นพาหะนำโรค

เชื้อมีการแบ่งตัวในกระแสเลือดเร็ว และไปอุดตันเส้นเลือดฝอยที่ไปเลี้ยงตับ ไต ทำให้ตับไตวาย และเสียชีวิตได้ ผู้ที่มีอาการ ไข้สูง หนาวสั่น มีประวัติเข้าป่าหรืออยู่ในพื้นที่มาลาเรียชุกชุม ให้รีบพบแพทย์ทันที เพื่อตรวจหาเชื้อและให้การรักษาโดยเร็ว ประชาชนไม่ควรวิตกกังวลจนเกินไป เนื่องจากโรคนี้สามารถรักษาให้หายได้ หากได้รับการรักษาโดยเร็ว และยังสามารถป้องกันได้โดยไม่ให้ยุงก้นปล่องกัด เช่น นอนในมุ้ง ทายากันยุง หลีกเลี่ยงการเข้าป่าเขาโดยไม่จำเป็น